วันนี้เงินเข้าแล้ว สูงสุด 15,000

เป็นประเด็นจากกรณี คณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบให้ ธ.ก.ส. ดำเนินโครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปี 2564/65 วงเงินรวม 13,225 ล้านบาท เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรผู้ปลูกข้าว และป้องกันความเสี่ยงด้านราคาไม่ให้ประสบปัญหาขาดทุน

ลดภาระค่าใช้จ่ายในการแก้ไขปัญหาราคาผลผลิตตกต่ำจากสถานการณ์เศรษฐกิจโลก การแพร่ระบาดของเ cv และอุทกภัย ทั้งที่กลไกตลาดยังคงทำงานเป็นปกติ โดยประกันรายได้แก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าว 5 ชนิด ได้แก่

ข้าวเปลือกหอมมะลิ ตันละ 15,000 บาท ครัวเรือนละไม่เกิน 14 ตัน

 

ข้าวเปลือกหอมมะลินอกเขต ตันละ 14,000 บาท ครัวเรือนละไม่เกิน 16 ตัน

 

ข้าวเปลือกเจ้า ตันละ 10,000 บาท ครัวเรือนละไม่เกิน 30 ตัน

ข้าวเปลือกหอมปทุมธานี ตันละ 11,000 บาท ครัวเรือนละไม่เกิน 25 ตัน

 

ข้าวเปลือกเหนียว ตันละ 12,000 บาท ครัวเรือนละไม่เกิน 16 ตัน

 

ขณะที่ไทม์ไลน์การโอนเงิน แบ่งเป็น

 

งวดที่ 1 จ่ายเงินวันที่ 9 พ.ย. 2564

 

งวดที่ 2 จ่ายเงินวันที่ 10 พ.ย. 2564

สำหรับ หลักเกณฑ์การจ่ายเงินประกันรายได้ เกษตรกรจะต้องขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกข้าวปีการผลิต 2564/65 กับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และต้องแจ้งวันที่คาดว่าจะเก็บเกี่ยว เพื่อใช้เป็นข้อมูลช่วงเวลาที่เกษตรกรจะได้รับสิทธิ์ชดเชย

 

ส่วนวิธีการตรวจสอบสิทธิ์โครงการประกันรายได้ชาวนา ปีการผลิต 2564/65

 

เข้าเว็บไซต์ chongkho.inbaac.com

 

กรอกเลขประจำตัวประชาชน พร้อมกดค้นหา

หากผู้ที่ลงทะเบียนสำเร็จ และได้รับเงินแล้ว หน้าจอจะแสดงผล โอนเงินเรียบร้อยแล้ว หากไม่พบข้อมูลการขึ้นทะเบียน ต้องติดต่อหน่วยงานที่รับขึ้นทะเบียนเกษตรกรตามชนิดพืชที่ได้รับสิทธิ์ตามโครงการ

เนื่องจากทางธนาคารออมสิน ให้ลงทะเบียน โครงการปรับโครงสร้างหนี้ยื่นเรื่องได้ถึง 31 ธันวาคม นี้

ลงทะเบียนได้ที่เว็บไซต์ธนาคารออมสิน

ธนาคารออมสินได้เปิดให้ลูกหนี้รายย่อยลงทะเบียนเพื่อเข้าร่วมโครงการปรับปรุงโครงสร้างหนี้ด้วยวิธีการรวมหนี้

โดยลูกหนี้สามารถลงทะเบียนได้ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน ถึง 31 ธันวาคม 2564 นี้ ผ่านเว็บไซต์ธนาคารออมสิน

https://ln15.gsb.or.th/WEB-LNHM/

(adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({});

ทั้งนี้ทางธนาคารออมสินได้กำหนดคุณสมบัติกลุ่มลูกค้าที่สามารถเข้าร่วมมาตรการปรับโครงสร้างหนี้ไว้ดังนี้

1. เป็นลูกหนี้สินเชื่อเคหะของธนาคารออมสิน ที่ไม่ถูกจัดชั้นเป็นหนี้ด้อยคุณภาพ (NPL) หรือไม่ค้างชำระเงินต้น

หรือดอกเบี้ยเกินกว่า 90 วัน หรือ 3 เดือน นับแต่วันครบกำหนดชำระ

2. เป็นลูกหนี้สินเชื่อรายย่อยที่ไม่มีหลักประกันของธนาคารออมสิน เช่น บัตรเครดิต บัตรกดเงินสด

(adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({});

โดยธนาคารออมสินได้แสดงตัวอย่างการรวมหนี้ไว้ดังนี้

ตัวอย่าง : การรวมหนี้ จากมาตรการปรับโครงสร้างหนี้ลูกหนี้รายย่อยโดยวิธีการรวมหนี้ธนาคารออมสิน

เดิม ลูกค้ากู้สินเชื่อเคหะจากธนาคารออมสิน 4 ล้านบาท และมีราคาประเมินหลักทรัพย์ 4 ล้านบาท

ปัจจุบัน ภาระหนี้สินเชื่อเคหะคงเหลือ 3.5 ล้านบาท และมีภาระหนี้บัตรเครดิตธนาคารออมสินค้างชำระ 200,000 บาท

ส่วนต่าง ของมูลค่าหลักประกัน (ราคาประเมินหลักทรัพย์) กับภาระหนี้สินเชื่อเคหะจึงเท่ากับ 500,000 บาท

(adsbygoogle = window.adsbygoogle || []).push({});

เมื่อลูกค้ามีหนี้บัตรเครดิตธนาคารออมสินค้างชำระ 200,000 บาท ซึ่งไม่เกินส่วนต่างของมูลค่าหลักประกัน 500,000 บาท

จึงสามารถเข้าร่วมมาตรการ รวมหนี้นี้ได้ โดยจะมีสิทธิได้รับการลดอัตราดอกเบี้ยของหนี้บัตรเครดิตเป็นไม่เกิน MRR

ขอบคุณข้อมูลจาก ธนาคารออมสิน